โครงการที่อยู่ในแผนงาน
1โครงการศึกษาความเหมาะสมทางพิเศษสายพระราม ๓ - ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอก กรุงเทพมหานครด้านตะวันตก
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับโครงการทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35 ของกรมทางหลวง (ทล.) บริเวณ กม. 13+000 ของ ถ.พระรามที่ 2 ก่อสร้างเป็นทางยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร ซ้อนทับไปตามแนวเกาะกลาง ถ.พระรามที่ 2 และก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาใหม่ขนาด 8 ช่องจราจร โดยมีจุดสิ้นสุดโครงการบริเวณทางแยกต่างระดับบางโคล่
ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 807 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 30,437 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 31,244 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• สัญญาที่ 1 : ดำเนินการก่อสร้างแล้ว ผลงานร้อยละ 49.02 จากแผนงานร้อยละ 46.64 (ก.ย. 66)
• สัญญาที่ 2 : ดำเนินการก่อสร้างแล้ว ผลงานร้อยละ 80.00 จากแผนงานร้อยละ 76.82 (ก.ย. 66)
• สัญญาที่ 3 : ดำเนินการก่อสร้างแล้ว ผลงานร้อยละ 50.20 จากแผนงานร้อยละ 46.64 (ก.ย. 66)
• สัญญาที่ 4 : ดำเนินการก่อสร้างแล้ว ผลงานร้อยละ 100.00 จากแผนงานร้อยละ 98.00 (ก.ย. 66)
• สัญญาที่ 5 : อยู่ระหว่างจัดทำ TOR งานจ้างระบบจัดเก็บค่าผ่านทางแบบไม่มีไม้กั้น
• ผลงานสะสมรวมทั้งโครงการร้อยละ 66.67 จากแผนงานสะสมร้อยละ 63.98 (ก.ย. 66)
มีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับโครงการทางยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 35 ของกรมทางหลวง (ทล.) บริเวณ กม. 13+000 ของ ถ.พระรามที่ 2 ก่อสร้างเป็นทางยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร ซ้อนทับไปตามแนวเกาะกลาง ถ.พระรามที่ 2 และก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาใหม่ขนาด 8 ช่องจราจร โดยมีจุดสิ้นสุดโครงการบริเวณทางแยกต่างระดับบางโคล่
ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 807 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 30,437 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 31,244 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• สัญญาที่ 1 : ดำเนินการก่อสร้างแล้ว ผลงานร้อยละ 49.02 จากแผนงานร้อยละ 46.64 (ก.ย. 66)
• สัญญาที่ 2 : ดำเนินการก่อสร้างแล้ว ผลงานร้อยละ 80.00 จากแผนงานร้อยละ 76.82 (ก.ย. 66)
• สัญญาที่ 3 : ดำเนินการก่อสร้างแล้ว ผลงานร้อยละ 50.20 จากแผนงานร้อยละ 46.64 (ก.ย. 66)
• สัญญาที่ 4 : ดำเนินการก่อสร้างแล้ว ผลงานร้อยละ 100.00 จากแผนงานร้อยละ 98.00 (ก.ย. 66)
• สัญญาที่ 5 : อยู่ระหว่างจัดทำ TOR งานจ้างระบบจัดเก็บค่าผ่านทางแบบไม่มีไม้กั้น
• ผลงานสะสมรวมทั้งโครงการร้อยละ 66.67 จากแผนงานสะสมร้อยละ 63.98 (ก.ย. 66)
2โครงการทางพิเศษสายฉลองรัชส่วนต่อขยายช่วงจตุโชติ - ถนนวงแหวนฯ รอบที่ 3
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับทางพิเศษฉลองรัช บริเวณด่านจตุโชติและเชื่อมต่อกับถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันออกมุ่งไปทางทิศตะวันออกตัดผ่านถนนหทัยราษฎร์ ถนนนิมิตใหม่ ผ่านจุดบริการทางพิเศษ (Service Area) แล้วมุ่งไปทางทิศตะวันออก เข้าเชื่อมต่อกับถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 บริเวณ กม.17+075 และเส้นทางกาญจนบุรี - สระแก้ว (MR6) (ช่วงวงแหวนฯ รอบที่ 3 (MR10) - ปราจีนบุรี) มุ่งหน้าทิศเหนือไปถนนลำลูกกา โดยสิ้นสุดโครงการอยู่ที่บริเวณถนนลำลูกกา ระยะทาง : 17 กม. (ระยะที่ 1 ช่วงจตุโชติ - ถนนวงแหวนฯ รอบที่ 3)
ระยะทาง 19.25 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 6,678 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 27,821 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 34,499 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• เมื่อวันที่ 14 มี.ค. 66 คณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้อนุมัติให้ กทพ. ดำเนินโครงการฯ ช่วงจตุโชติ-ถนนลำลูกกา กทพ. อยู่ระหว่างร่างขอบเขตของงานจ้างผู้รับจ้างและผู้ให้บริการควบคุมงาน (TOR)
• กทพ. อยู่ระหว่างขออนุมัติรายงานการขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการในรายงาน EIA สำหรับส่วนเชื่อมต่อไปยังถนนวงแหวนรอบนอกฯ รอบที่ 3 (MR10) ด้านตะวันออก
มีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับทางพิเศษฉลองรัช บริเวณด่านจตุโชติและเชื่อมต่อกับถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันออกมุ่งไปทางทิศตะวันออกตัดผ่านถนนหทัยราษฎร์ ถนนนิมิตใหม่ ผ่านจุดบริการทางพิเศษ (Service Area) แล้วมุ่งไปทางทิศตะวันออก เข้าเชื่อมต่อกับถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 บริเวณ กม.17+075 และเส้นทางกาญจนบุรี - สระแก้ว (MR6) (ช่วงวงแหวนฯ รอบที่ 3 (MR10) - ปราจีนบุรี) มุ่งหน้าทิศเหนือไปถนนลำลูกกา โดยสิ้นสุดโครงการอยู่ที่บริเวณถนนลำลูกกา ระยะทาง : 17 กม. (ระยะที่ 1 ช่วงจตุโชติ - ถนนวงแหวนฯ รอบที่ 3)
ระยะทาง 19.25 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 6,678 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 27,821 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 34,499 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• เมื่อวันที่ 14 มี.ค. 66 คณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้อนุมัติให้ กทพ. ดำเนินโครงการฯ ช่วงจตุโชติ-ถนนลำลูกกา กทพ. อยู่ระหว่างร่างขอบเขตของงานจ้างผู้รับจ้างและผู้ให้บริการควบคุมงาน (TOR)
• กทพ. อยู่ระหว่างขออนุมัติรายงานการขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการในรายงาน EIA สำหรับส่วนเชื่อมต่อไปยังถนนวงแหวนรอบนอกฯ รอบที่ 3 (MR10) ด้านตะวันออก
3โครงการระบบทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ระยะที่ 1 (ตอน N2 ถนนประเสริฐมนูกิจ-ถนนวงแหวนรอบนอกฯ ด้านตะวันออก)
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นบริเวณ กม.1+000 ของ ถ.ประเสริฐมนูกิจ เป็นทางพิเศษยกระดับขนาด 4 ช่องจราจร เชื่อมต่อทางพิเศษฉลองรัช บริเวณทางแยกต่างระดับฉลองรัช ไปสิ้นสุดเชื่อมต่อกับ ถ.วงแหวนรอบนอกฯ ด้านตะวันออก บริเวณทางแยกต่างระดับลาดบัวขาว
ระยะทาง 11.3 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : - ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 16,960 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 16,960 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
อยู่ระหว่างเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบให้ กทพ. ดำเนินโครงการฯ
มีจุดเริ่มต้นบริเวณ กม.1+000 ของ ถ.ประเสริฐมนูกิจ เป็นทางพิเศษยกระดับขนาด 4 ช่องจราจร เชื่อมต่อทางพิเศษฉลองรัช บริเวณทางแยกต่างระดับฉลองรัช ไปสิ้นสุดเชื่อมต่อกับ ถ.วงแหวนรอบนอกฯ ด้านตะวันออก บริเวณทางแยกต่างระดับลาดบัวขาว
ระยะทาง 11.3 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : - ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 16,960 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 16,960 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
อยู่ระหว่างเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบให้ กทพ. ดำเนินโครงการฯ
4โครงการทางพิเศษ จ. ภูเก็ต ระยะที่ 1 (ช่วงกะทู้ - ป่าตอง)
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการที่ ต.ป่าตอง บริเวณจุดตัด ถ.พระเมตตา ก่อสร้างเป็นทางยกระดับและอุโมงค์ขนาด 4 ช่องจราจรต่อทิศทาง โดยเป็นทางยกระดับข้าม ถ.พิศิษฐ์กรณีย์ จนถึงเขานาคเกิด แล้วจึงเป็นอุโมงค์คู่ หลังจากนั้นเป็นทางยกระดับ และสิ้นสุดโครงการที่ ต.กะทู้ บริเวณจุดตัดกับ ทล. 4029
ระยะทาง 3.98 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 5,792 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 8,878 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 14,670 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินของโครงการ และทบทวนแนวทางการดำเนินโครงการ โดยจะนำเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อขออนุมัติให้ กทพ. ดำเนินการก่อสร้างงานโยธาของโครงการไปก่อน
มีจุดเริ่มต้นโครงการที่ ต.ป่าตอง บริเวณจุดตัด ถ.พระเมตตา ก่อสร้างเป็นทางยกระดับและอุโมงค์ขนาด 4 ช่องจราจรต่อทิศทาง โดยเป็นทางยกระดับข้าม ถ.พิศิษฐ์กรณีย์ จนถึงเขานาคเกิด แล้วจึงเป็นอุโมงค์คู่ หลังจากนั้นเป็นทางยกระดับ และสิ้นสุดโครงการที่ ต.กะทู้ บริเวณจุดตัดกับ ทล. 4029
ระยะทาง 3.98 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 5,792 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 8,878 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 14,670 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินของโครงการ และทบทวนแนวทางการดำเนินโครงการ โดยจะนำเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อขออนุมัติให้ กทพ. ดำเนินการก่อสร้างงานโยธาของโครงการไปก่อน
5โครงการแก้ไขปัญหาการจราจรบนโครงข่ายทางพิเศษ ระยะที่ 1
ข้อมูลโครงการ
โครงการทางพิเศษยกระดับชั้นที่ 2 (งามวงศ์วาน-พระราม 9) เป็นการก่อสร้างทางพิเศษยกระดับชั้นที่ 2 ซ้อนทับอยู่บนทางพิเศษศรีรัช ยกเว้นช่วงเริ่มต้นโครงการบริเวณทางแยกต่างระดับงามวงศ์วานถึงหน้าด่านเก็บค่าผ่านทางประชาชื่น แนวสายทางจะซ้อนทับอยู่บนทางพิเศษศรีรัชฝั่งขาเข้าเมือง และช่วงย่านพหลโยธินถึงทางแยกต่างระดับพญาไท (แนวคลองประปา) แนวสายทางจะเบี่ยงไปซ้อนทับบนทางพิเศษศรีรัชฝั่งขาออกเมืองจากนั้นแนวสายทางจะเบี่ยงกลับมาวางแนวที่กึ่งกลางคร่อมอยู่บนทางพิเศษศรีรัช ช่วงตั้งแต่ทางแยกต่างระดับพญาไทถึงจุดสิ้นสุดโครงการที่บริเวณโรงพยาบาลพระรามเก้า มีด่านเก็บค่าผ่านทางจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ด่านเก็บค่าผ่านทางบริเวณประชาชื่น และด่านเก็บค่าผ่านทางบริเวณมักกะสัน โดยดำเนินการร่วมกับโครงการแก้ไขปัญหาจราจรอีก 4 โครงการ
ระยะทาง 20.09 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : - ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 34,506 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 34,506 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
ศึกษาความเหมาะสมฯ แล้วเสร็จ ปัจจุบันอยู่ระหว่างเตรียมเสนอขออนุมัติรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)
โครงการทางพิเศษยกระดับชั้นที่ 2 (งามวงศ์วาน-พระราม 9) เป็นการก่อสร้างทางพิเศษยกระดับชั้นที่ 2 ซ้อนทับอยู่บนทางพิเศษศรีรัช ยกเว้นช่วงเริ่มต้นโครงการบริเวณทางแยกต่างระดับงามวงศ์วานถึงหน้าด่านเก็บค่าผ่านทางประชาชื่น แนวสายทางจะซ้อนทับอยู่บนทางพิเศษศรีรัชฝั่งขาเข้าเมือง และช่วงย่านพหลโยธินถึงทางแยกต่างระดับพญาไท (แนวคลองประปา) แนวสายทางจะเบี่ยงไปซ้อนทับบนทางพิเศษศรีรัชฝั่งขาออกเมืองจากนั้นแนวสายทางจะเบี่ยงกลับมาวางแนวที่กึ่งกลางคร่อมอยู่บนทางพิเศษศรีรัช ช่วงตั้งแต่ทางแยกต่างระดับพญาไทถึงจุดสิ้นสุดโครงการที่บริเวณโรงพยาบาลพระรามเก้า มีด่านเก็บค่าผ่านทางจำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ด่านเก็บค่าผ่านทางบริเวณประชาชื่น และด่านเก็บค่าผ่านทางบริเวณมักกะสัน โดยดำเนินการร่วมกับโครงการแก้ไขปัญหาจราจรอีก 4 โครงการ
ระยะทาง 20.09 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : - ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 34,506 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 34,506 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
ศึกษาความเหมาะสมฯ แล้วเสร็จ ปัจจุบันอยู่ระหว่างเตรียมเสนอขออนุมัติรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)
6โครงการทางพิเศษ จ. ภูเก็ต ระยะที่ 2 (ช่วงเมืองใหม่ - เกาะแก้ว - กะทู้)
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการที่ ต.เทพกระษัตรี บริเวณจุดตัดกับ ทล. 4026 และมีแนวเส้นทางไปทางทิศใต้ขนานไปกับ ทล. 402 จนถึงบริเวณจุดตัดกับ ทล. 4024 (ถนนเลี่ยงเมือง) ที่ ต.เกาะแก้ว โดยมีแนวเส้นทางเชื่อมต่อจากช่วงเมืองใหม่-เกาะแก้ว บริเวณ ต.ศรีสุนทร ลงไปทางทิศใต้ขนานไปกับ ทล. 4024 จนไปสิ้นสุดโครงการที่ ต.กะทู้ บริเวณจุดตัดกับ ทล. 4029 เชื่อมต่อกับโครงการทางพิเศษสายกะทู้-ป่าตอง จ.ภูเก็ต
ระยะทาง 30.62 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 22,353 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 20,280 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 42,633 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. ศึกษาความเหมาะสมฯ แล้วเสร็จ และอยู่ระหว่างทบทวนรูปแบบการให้เอกชนร่วมลงทุน โดยให้เอกชนบริหารจัดการและบำรุงรักษาโครงข่ายทางพิเศษ จ.ภูเก็ตทั้ง 2 ระยะ
มีจุดเริ่มต้นโครงการที่ ต.เทพกระษัตรี บริเวณจุดตัดกับ ทล. 4026 และมีแนวเส้นทางไปทางทิศใต้ขนานไปกับ ทล. 402 จนถึงบริเวณจุดตัดกับ ทล. 4024 (ถนนเลี่ยงเมือง) ที่ ต.เกาะแก้ว โดยมีแนวเส้นทางเชื่อมต่อจากช่วงเมืองใหม่-เกาะแก้ว บริเวณ ต.ศรีสุนทร ลงไปทางทิศใต้ขนานไปกับ ทล. 4024 จนไปสิ้นสุดโครงการที่ ต.กะทู้ บริเวณจุดตัดกับ ทล. 4029 เชื่อมต่อกับโครงการทางพิเศษสายกะทู้-ป่าตอง จ.ภูเก็ต
ระยะทาง 30.62 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 22,353 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 20,280 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 42,633 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. ศึกษาความเหมาะสมฯ แล้วเสร็จ และอยู่ระหว่างทบทวนรูปแบบการให้เอกชนร่วมลงทุน โดยให้เอกชนบริหารจัดการและบำรุงรักษาโครงข่ายทางพิเศษ จ.ภูเก็ตทั้ง 2 ระยะ
7โครงการทางพิเศษสายศรีนครินทร์-ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นเชื่อมต่อกับทางพิเศษศรีรัช ส่วน D บริเวณทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ ไปตามแนวทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 เป็นทางยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร และสิ้นสุดโครงการบริเวณ กม.18 บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง
ระยะทาง 18.5 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 788 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 21,104 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 21,892 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• กทพ. ได้จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นประชาชนครั้งที่ 1 (ปฐมนิเทศโครงการ) เมื่อวันที่ 11 ต.ค. 66
• กทพ. อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ โดยได้ผลงาน ร้อยละ 27.55 จากแผนการดำเนินงาน ร้อยละ 27.35 (ก.ย. 66)
มีจุดเริ่มต้นเชื่อมต่อกับทางพิเศษศรีรัช ส่วน D บริเวณทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ ไปตามแนวทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 เป็นทางยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร และสิ้นสุดโครงการบริเวณ กม.18 บนทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองหมายเลข 7 แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง
ระยะทาง 18.5 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 788 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 21,104 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 21,892 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• กทพ. ได้จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นประชาชนครั้งที่ 1 (ปฐมนิเทศโครงการ) เมื่อวันที่ 11 ต.ค. 66
• กทพ. อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ โดยได้ผลงาน ร้อยละ 27.55 จากแผนการดำเนินงาน ร้อยละ 27.35 (ก.ย. 66)
8โครงการทางเชื่อมต่อท่าเรือกรุงเทพและทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ (S1)
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับบริเวณพื้นที่ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center) ของท่าเรือกรุงเทพ เป็นทางยกระดับขนาด 4 ช่องจราจร ไปตามแนวเกาะกลางของถนนภายในท่าเรือกรุงเทพ เชื่อมต่อกับทางพิเศษสายบางนา - อาจณรงค์ (S1) ซึ่งสามารถเชื่อมต่อไปยังทางพิเศษบูรพาวิถีในด้านทิศตะวันออก และเชื่อมต่อไปยังทางพิเศษฉลองรัชในด้านทิศเหนือ
ระยะทาง 2.25 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : - ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 4,446 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 4,446 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• กทพ. ดำเนินการศึกษาความเหมาะสมฯ และออกแบบรายละเอียดแล้วเสร็จ
• ในการประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 1/66 15 มี.ค. 66 ได้มีมติเห็นชอบรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการฯ
• ปัจจุบันอยู่ระหว่างเจรจารูปแบบการลงทุนร่วมกับการท่าเรือแห่งประเทศไทย
มีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับบริเวณพื้นที่ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center) ของท่าเรือกรุงเทพ เป็นทางยกระดับขนาด 4 ช่องจราจร ไปตามแนวเกาะกลางของถนนภายในท่าเรือกรุงเทพ เชื่อมต่อกับทางพิเศษสายบางนา - อาจณรงค์ (S1) ซึ่งสามารถเชื่อมต่อไปยังทางพิเศษบูรพาวิถีในด้านทิศตะวันออก และเชื่อมต่อไปยังทางพิเศษฉลองรัชในด้านทิศเหนือ
ระยะทาง 2.25 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : - ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 4,446 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 4,446 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• กทพ. ดำเนินการศึกษาความเหมาะสมฯ และออกแบบรายละเอียดแล้วเสร็จ
• ในการประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ 1/66 15 มี.ค. 66 ได้มีมติเห็นชอบรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการฯ
• ปัจจุบันอยู่ระหว่างเจรจารูปแบบการลงทุนร่วมกับการท่าเรือแห่งประเทศไทย
9โครงการระบบทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ระยะที่ 2 (ตอน N1 ศรีรัช - ถนนงามวงศ์วาน - ถนนประเสริฐมนูกิจ)
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับทางพิเศษศรีรัชบริเวณทางแยกต่างระดับงามวงศ์วาน โดยเป็นอุโมงค์ทางพิเศษขนาด 4 ช่องจราจรลอดใต้ตามแนว ถ.งามวงศ์วาน และยกระดับเชื่อมต่อกับโครงการระบบทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ระยะที่ 1 (ตอน N2 ถนนประเสริฐมนูกิจ-ถนนวงแหวนรอบนอกฯ ตะวันออก)
ระยะทาง 6.7 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 1,000 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 30,747 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 31,747 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• กทพ. ได้จัดอยู่ให้มีการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 2 (สรุปผลการคัดเลือกแนวสายทาง) เมื่อวันที 4 ก.ย. 66
• กทพ. อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมฯ ได้ผลงาน ร้อยละ 64.70 จากแผนการดำเนินงาน ร้อยละ 64.52 (ก.ย. 66)
มีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับทางพิเศษศรีรัชบริเวณทางแยกต่างระดับงามวงศ์วาน โดยเป็นอุโมงค์ทางพิเศษขนาด 4 ช่องจราจรลอดใต้ตามแนว ถ.งามวงศ์วาน และยกระดับเชื่อมต่อกับโครงการระบบทางด่วนขั้นที่ 3 สายเหนือ ระยะที่ 1 (ตอน N2 ถนนประเสริฐมนูกิจ-ถนนวงแหวนรอบนอกฯ ตะวันออก)
ระยะทาง 6.7 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 1,000 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 30,747 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 31,747 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• กทพ. ได้จัดอยู่ให้มีการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ครั้งที่ 2 (สรุปผลการคัดเลือกแนวสายทาง) เมื่อวันที 4 ก.ย. 66
• กทพ. อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมฯ ได้ผลงาน ร้อยละ 64.70 จากแผนการดำเนินงาน ร้อยละ 64.52 (ก.ย. 66)
10โครงการทางพิเศษเชื่อมเกาะสมุย
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการจากฝั่งแผ่นดินใหญ่ ที่อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช หรือ อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในลักษณะสะพานขึง (Cable-Stayed Bridge) เชื่อมข้ามทะเลอ่าวไทยไปยังอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ระยะทาง 25 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 2,500 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 50,000 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 52,500 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• กทพ. ได้จัดประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 1 (เพื่อคัดเลือกแนวเส้นทาง) เมื่อวันที่ 27-29 ก.ย. 66
• กทพ. อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ โดยได้ผลงาน ร้อยละ 29.87 จากแผนการดำเนินงาน ร้อยละ 28.73 (ก.ย. 66)
มีจุดเริ่มต้นโครงการจากฝั่งแผ่นดินใหญ่ ที่อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช หรือ อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในลักษณะสะพานขึง (Cable-Stayed Bridge) เชื่อมข้ามทะเลอ่าวไทยไปยังอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ระยะทาง 25 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 2,500 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 50,000 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 52,500 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
• กทพ. ได้จัดประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 1 (เพื่อคัดเลือกแนวเส้นทาง) เมื่อวันที่ 27-29 ก.ย. 66
• กทพ. อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ โดยได้ผลงาน ร้อยละ 29.87 จากแผนการดำเนินงาน ร้อยละ 28.73 (ก.ย. 66)
11โครงการทางพิเศษเชื่อมเกาะช้าง
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการพื้นที่อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด เชื่อมข้ามทะเลอ่าวไทยไปสิ้นสุดโครงการที่อำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด
ระยะทาง 6 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 2,000 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 13,000 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 15,000 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. อยู่ระหว่างจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการพื้นที่อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด เชื่อมข้ามทะเลอ่าวไทยไปสิ้นสุดโครงการที่อำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด
ระยะทาง 6 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 2,000 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 13,000 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 15,000 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. อยู่ระหว่างจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ
12โครงข่ายถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 ด้านใต้
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการบน ทล.35 ที่ จ.สมุทรสาคร ข้ามแม่น้ำท่าจีน และข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่ จ.สมุทรปราการ และมีจุดสิ้นสุดโครงการเชื่อมต่อกับโครงข่าย MR10 (ถนนวงแหวนรอบที่ 3 ด้านทิศตะวันออก)
ระยะทาง 71.60 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 14,250 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 95,000 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 109,250 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. อยู่ระหว่างจัดทำร่างขอบเขตของงาน (TOR) เพื่อศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการบน ทล.35 ที่ จ.สมุทรสาคร ข้ามแม่น้ำท่าจีน และข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่ จ.สมุทรปราการ และมีจุดสิ้นสุดโครงการเชื่อมต่อกับโครงข่าย MR10 (ถนนวงแหวนรอบที่ 3 ด้านทิศตะวันออก)
ระยะทาง 71.60 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 14,250 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 95,000 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 109,250 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. อยู่ระหว่างจัดทำร่างขอบเขตของงาน (TOR) เพื่อศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ
13โครงการทางพิเศษสายอุดรรัถยา-ปทุมธานี
ข้อมูลโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการบริเวณจุดตัดระหว่างทางพิเศษอุดรรัถยากับ ทล.345 มีแนวสายทางวิ่งไปทางทิศตะวันออกขนานกับ ทล.305 ข้ามถนนวงแหวนรอบนอกด้านตะวันออก และสิ้นสุดโครงการเชื่อมต่อถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 (ด้านตะวันออก)
ระยะทาง 20.50 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 2,534 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 36,023 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 38,557 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. อยู่ระหว่างจัดทำร่างขอบเขตของงาน (TOR) เพื่อศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ
มีจุดเริ่มต้นโครงการบริเวณจุดตัดระหว่างทางพิเศษอุดรรัถยากับ ทล.345 มีแนวสายทางวิ่งไปทางทิศตะวันออกขนานกับ ทล.305 ข้ามถนนวงแหวนรอบนอกด้านตะวันออก และสิ้นสุดโครงการเชื่อมต่อถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 (ด้านตะวันออก)
ระยะทาง 20.50 กิโลเมตร
มูลค่าลงทุนโครงการ
• ค่าจัดกรรมสิทธิ์ : 2,534 ล้านบาท
• ค่าก่อสร้าง : 36,023 ล้านบาท
• รวมค่าลงทุน : 38,557 ล้านบาท
สถานะปัจจุบัน
กทพ. อยู่ระหว่างจัดทำร่างขอบเขตของงาน (TOR) เพื่อศึกษาความเหมาะสมฯ ของโครงการ
14โครงการพัฒนาและบริหารจัดการที่พักริมทาง (Rest Area) ในเขตทางพิเศษ
ข้อมูลโครงการ Rest Area/Park & Ride ธรรมศาสตร์ รังสิต
Rest Area/Park & Ride บริเวณ ม. ธรรมศาสตร์ รังสิต มีขนาดพื้นที่ 80 ไร่ โดยมี ค่าลงทุน 2,780 ล้านบาท (ค่าก่อสร้าง 707 ลบ./ค่า O&M ตลอดอายุ 2,073 ลบ.)
สถานะปัจจุบัน
อยู่ในขั้นตอนการศึกษาและวิเคราะห์โครงการ และจัดทำรายงาน PPP
ข้อมูลโครงการ Rest Area บางโปรง
Rest Area บางโปรง มีขนาดพื้นที่ 60 ไร่ ค่าลงทุน 2,325 ล้านบาท (ค่าก่อสร้าง 627 ลบ./ค่า O&M ตลอดอายุ 1,698 ลบ.)
สถานะปัจจุบัน
อยู่ในขั้นตอนการศึกษาและวิเคราะห์โครงการ และจัดทำรายงาน PPP
Rest Area/Park & Ride บริเวณ ม. ธรรมศาสตร์ รังสิต มีขนาดพื้นที่ 80 ไร่ โดยมี ค่าลงทุน 2,780 ล้านบาท (ค่าก่อสร้าง 707 ลบ./ค่า O&M ตลอดอายุ 2,073 ลบ.)
สถานะปัจจุบัน
อยู่ในขั้นตอนการศึกษาและวิเคราะห์โครงการ และจัดทำรายงาน PPP
ข้อมูลโครงการ Rest Area บางโปรง
Rest Area บางโปรง มีขนาดพื้นที่ 60 ไร่ ค่าลงทุน 2,325 ล้านบาท (ค่าก่อสร้าง 627 ลบ./ค่า O&M ตลอดอายุ 1,698 ลบ.)
สถานะปัจจุบัน
อยู่ในขั้นตอนการศึกษาและวิเคราะห์โครงการ และจัดทำรายงาน PPP